วันจันทร์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

แนวทางห่วน ๆ ในการเพิ่มมูลค่าข้าวแก่ชุมชนทางอ้อมและตรง

ราคาตลาดข้าวหอมมะลิที่ 13,500 บาทต่อตัน (ปริมาณข้าวสารชั้น1 ร้อยละ 40 ขึ้นไปเท่านั้น) จากนั้นราคาก็ลดลั่นตามร้อยละ 5% ที่มา ข้าวหอมสุรินทร์ 12 ก.ค. 53 ราคาตก เพราะ คนไทยกินข้าวน้อยลง กินแต่ผลิตภัณฑ์จากแป้งสาลีมากขึ้น ก็เลยนำเข้าข้าวสาลีมากขึ้น มันราคาถูกกว่ากันเยอะ อีกทั้งกินข้าวเม้า หรือข้าวบาเลย์อีก (ผลิตเหล้าเบียร์)นำเข้าทั้งนั้น คนไทย กินข้าวหรือยัง... เคล็ดลับในการหุงข้าวหอมมะลิ คือ หุงพอดีน้ำ แบบไม่เช็ดน้ำ ใส่ใบเตยสด เมื่อข้าวใกล้สุก ข้าวจะต้องถูกขัดสีมาไม่เกิน 7 วัน ตามตำราตำข้าวสารกรอกหม้อ ได้คุณภาพข้าวหอมมากที่สุด เนื่องจากกรดไขมันจากข้าวยังไม่ถูกเปลี่ยนคุณภาพเนื่องจากจุลินทร์ทรีย์บางชนิด ข้าวหอมมะลิแดง มีธาตุเหล็กและธาตแมกนีเชียม ที่เหมาะสม ฉะนันคุณภาพของวิตามมิน B หลากชนิดก็คง ถ้านานเกิน วัน บางท่านอาจมีอาการแพ้ข้าวหอมนี้ กินให้เป็นยา ไม่ได้กินเพราะอวดมั่งมี ทำให้ราคาข้าวตกต่ำ ทางออกที่ดี ขอให้นักศึกษาหรือผูหัวดีทางการสร้างและออกแบบ ขอได้ผลิตเครื่องสีข้าวกรอหม้อ แบบมือถือ หรือแบบดัดแปลงจากเครื่องปั่ผลไม้ มาเป็นเครื่องสีข้าวกรอกหม้อ แล้ว โปรดักชั่นนี้ อาจจะทำให้ชาวนาได้ขายข้าเปลือกโดยตรงแก่ผู้บริโภค ไม่ต้องซื้อข้าวสารหอมมะลิ ราคาตั้ง กิโลกรัมละ 35 - 50 บาท โน้น ค่าการตลาดแพง แกลบแพง(ผลิตไฟฟ้า) รำแพง(อาหารสัตว์) ข้าวปลาย (ข้าวโอ๊ด) ข้าวราคาถูก รวมแล้ว กำไรเห็น ๆ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์จากข้าวถูกปิดบัง เพราะภาคเอกชนเขาทำกันเอง รัฐทำน้อย ความรู้สาธารณะก็น้อย แนวคิดที่จะเพิ่มมูลค่าก็น้อยตามไปด้วย การผลิตน้ำมันรำข้าวจากกระบวนการเผาแกลบได้พลังงานกล ไฟฟ้า พลังงานเคมี และอื่น ๆ รวมทั้งผลคาร์บอนที่มีคุณภาพ ในงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ ล้วนได้จากการวิจัย แต่ความรู้นี้มักตกอยู่กับนายทุน กลายเป็นความรู้ที่ไม่มีค่าต่อสังคมโยตรง กลับถูกซ้ำเติมราคา
"ถึงเวลาหรือยังสำหรับงนวิจัยสาธารณะ ที่ทุกคนจะได้รับรู้รับทราบอย่างทั่วถึง" ขอส่งพลังใจสู่นักวิจัยเพื่อเกษตรกรไทยที่อุทิศตนแม่งบประมาณจะน้อยนิดก็ตาม คนไทย(รัฐ)อาจจะไม่เห็นค่า แต่ฝรั่งอิจฉาตาร้อนอยากมีพื้นนาข้าวอย่างคนไทย เพราะไทยคือดินแดนสุวรรณภูมิอย่างแท้จริง (ข้าวมีค่าดังทอง)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น